ลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ เทงบ1.3แสนล.ตอกเสาเข็มปี61

วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ เทงบ1.3แสนล.ตอกเสาเข็มปี61


              หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 หลังจากกรมทางหลวงได้ลงนามในสัญญาโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 สายบางปะอิน-สระบุรี-นครราชสีมา วงเงิน 69,970 ล้านบาท และโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 81 สายบางใหญ่-กาญจนบุรี วงเงิน 43,700 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2559 ที่ผ่านมา และคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จปี 63 ล่าสุด เตรียมลุยมอเตอร์เวย์เชื่อมภาคใต้ คือ มอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน และสายกาญจนาภิเษก-วังมะนาว พร้อมชงทางยกระดับ(ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) รวมวงเงินลงทุนกว่า 1.3 แสนล้านบาท

                นายธานินทร์ สมบูรณ์ อธิบดีกรมทางหลวง(ทล.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาออกแบบเส้นทางในโซนภาคตะวันตกและเส้นทางเชื่อมสู่ภาคใต้ประกอบไปด้วย 1.ทางหลวงหมายเลข 338 สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรีและทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 22,300 ล้านบาท  2.โครงการออกแบบรายละเอียดทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35(ธนบุรี-ปากท่อ) ตอน 2(ส่วนที่ 1) ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตอน 2 (ส่วนที่ 2) ระยะทาง 21 กิโลเมตร ตอน 3(ส่วนที่ 1 ระยะทาง 10 กิโลเมตร และส่วนที่ 2 ระยะทาง 11.2 กิโลเมตร) วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และ 3.โครงการมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน ระยะทาง 30 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 33,361 ล้านบาท(ตามผลการศึกษาปี 2558) คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จภายในปี 2560 และนำเสนอกระทรวงคมนาคมและรัฐบาลเร่งผลักดันในปี 2561 

                "การลงทุนทั้ง 3 โครงการดังกล่าวสามารถใช้ได้ทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินในปี 2561 หรือจะใช้เงินกู้และการร่วมลงทุน(พีพีพี) กับภาคเอกชนได้ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนการเวนคืนนั้น คาดว่าจะมีเพียงเล็กน้อยจึงไม่เป็นปัญหาต่อการพัฒนาโครงการฯ หากได้รับงบประมาณไปดำเนินการจะเริ่มประกวดราคาในต้นปี 2561 เป็นต้นไปโดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างเส้นทางละประมาณ 3 ปี"

                 สำหรับแนวเส้นทางมอเตอร์เวย์สายธนบุรี-ปากท่อ จะก่อสร้างแนวต่อจากทางด่วนสายพระรามที่ 3-ดาวคะนอง-กาญจนาภิเษกของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ไปตามถนนธนบุรี-ปากท่อ สิ้นสุดที่แยกวังมะนาว รูปแบบทางยกระดับเพื่อเลี่ยงจุดแยกจุดตัดทางราบให้สามารถใช้ความเร็วและใช้เส้นทางได้อย่างสะดวก ในส่วนเส้นทางมอเตอร์เวย์สายบางขุนเทียน-บางใหญ่-บางปะอิน นั้นจะก่อสร้างช่วงแนวเกาะกลางไปตามถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนสายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี โดยสามารถไปต่อเชื่อมกับมอเตอร์เวย์เส้นทางบางใหญ่-กาญจนบุรี ที่บางใหญ่ และยังสามารถต่อขยายจากจุดบางใหญ่ไปสิ้นสุดที่บางปะอินเพื่อเชื่อมกับเส้นทางมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา

                "ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวมีปริมาณรถใช้เส้นทางหนาแน่น โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนและช่วงเทศกาลสภาพการจราจรจะติดขัดเป็นเส้นทางยาวเนื่องจากผ่านจุดแยกสำคัญต่างๆจึงมีปริมาณการจราจรสะสม ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการใช้เส้นทางโดยเฉพาะการขนส่งสินค้าหรือเส้นทางโลจิสติกส์สายหลักสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้จึงต้องเร่งขยายเส้นทางรองรับให้ได้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และพลังงานในการขนส่งสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ให้เกิดขึ้นโดยเร็ว ประการสำคัญยังเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับท่าเรือน้ำลึกทวายที่รัฐบาลไทยและเมียนมาร่วมกันพัฒนาในปัจจุบันนี้ด้วย"

                ด้านนายยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งรถบรรทุกแห่งอาเซียน (ATF) กล่าวกับ "สยามธุรกิจ" ว่า โครงการฯ ที่กรมทางหลวงจะนำเสนอรัฐบาลทั้ง 3 โครงการนี้ ยังมีความสำคัญน้อยกว่าเส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ที่จะกระจายความเจริญออกไปสู่เมืองบริวารของ กทม. เช่น พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก เป็นต้น ที่สำคัญโครงการฯ มีมูลค่าการก่อสร้างที่สูงอาจจะไม่คุ้มค่า เพราะช่วยลดปริมาณการจราจรได้เพียงบางส่วน ในอนาคตก็ยังแออัดเช่นเดิม ทางที่ดีควรจะตัดถนนออกสู่เมืองบริวารให้มากขึ้น เพื่อกระจายการเติบโตเมืองออกสู่ต่างจังหวัด

                อีกเส้นทางที่ควรจะวางแผนการก่อสร้างให้ชัดเจนก็คือเส้นทางจากสระบุรีผ่านอ่างทองข้ามมาทางสุพรรณบุรีและเข้ากาญจนบุรีต่อไปท่าเรือทวาย เพราะเส้นทางนี้จะเป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าก่อสร้าง เช่น ซีเมนต์ เพราะขณะนี้มีการขนส่งซีเมนต์ไปยังท่าเรือทวายเพื่อก่อสร้างจำนวนมากและในอนาคตการขนส่งสินค้าก็จะตามมา โดยในอนาคตรถบรรทุกสินค้าจะได้ไม่ต้องไปใช้ถนนร่วมกับรถทั่วไปเพราะเส้นทางจะตัดตรงไปยังท่าเรือทวายเลย ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการจราจรเส้นทางหมายเลข 323 ได้เป็นอย่างดี

                "เส้นทางที่กรมทางหลวงจะนำเสนอภาครัฐ ถือว่ามีมูลค่าที่แพงมาก และอาจจะไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เพราะลดปริมาณการจราจรได้เพียงนิดเดียว และลดปัญหารถติดได้เพียงไม่กี่ปี ฉะนั้นเราควรสร้างถนนที่กระจายการเติบโตสู่เมืองบริวารของกรุงเทพฯ เช่น เส้นทางวงแหวนรอบที่ 3 ถ้ายังก่อสร้างถนนเฉพาะในเมืองหลวงปัญหาการจราจรก็ไม่สามารถแก้ได้"

 

 



บริษัท สมาร์ท โกลด์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด SMART GOLD MEDIA GROUP CO.,LTD. ติดต่อสอบถาม ID Line : @siamturakij และ ฝ่ายโฆษณา siamturakijadvertising@gmail.com
© 2013 สยามธุรกิจ